อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

มาตรา ๒๓ ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจและหน้าที่

(๑) พิจารณากำหนดนโยบายการบริหรงานบุคคลสำหรับข้าราชการครูและบุลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งการกำหนดจำนวน และอัตราตำแหน่ง และเกลี่ยอัตรากำลังให้สอดคล้องกับนโยบาย การบริหารงานบุคคล ระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด

(๒) พิจารณาให้ความเห็นชอบการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

(๓) ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการพิจารณาความดีความชอบของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ‘และข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

(๔) พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทรรณ์ และการร้องทุกข์ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้

(๕) ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ การปกป้องคุ้มคอง ระบบคุณธรรม การจัดสวัสดิการ และการยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในหน่วยงานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา

(๖) กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

(๗) จัดทำ และพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงาานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

(๘) จัดทำรายงานประจำปีที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูแบะบุลากรทางการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาทีเสนอ ก.ค.ศ.

(๙) พิจารณาให้ความเห็นชอบเรื่องการบริหารงานบุคคลในเขตพื้นที่การศึกษาที่ไม่อยู่ในอำนาจและหน้าที่ของผู้บริหารของหน่วยงานการศึกษา

(๑๐) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้กฎหมายอื่น หรือตามที่ ก.ค.ศ. มอบหมาย

หน้าที่ของเลขานุการ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

การจัดทำระเบียบวาระการประชุมและรายงานการประชุม อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา 8

ตัวอย่างระเบียบวาระการประชุม อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา

อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา 9
อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา 10

ประมาณการค่าใช้ง่ายในการจัดการประชุม อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา 11

๑. ค่าตอบแทนกรรมการตามมาตรา ๗(๒) มาตรา ~ และ มาตรา ๑๓ แห่งพระราชกฤษฎีกาเบี้ยประชุมกรรมการพ.ศ.๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม

(๑) ประธานอนุกรรมการ ๑,๒๕๐ บาท
(๒) อนุกรรมการ ๑,๐๐๐ บาท

หมายเหตุ ยกว้นข้าราชการประจำที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

๒. ค่าใช้จ่ายในการประชุม ค่าอาหาร ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าวัสดุอุปกรณ์และค่าถ่ายเอกสาร ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด

อ้างอิง
๑. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ยในการเดินทาง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๔ และหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค .๔o๖.๔/ว๕ ลงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๔ เรื่อง หลักณณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและฝึกอบรมภายในประเทศ
๒. หนังสือ สพฐ. ที่ ศร ㆍ๔๐๐๒/ว๓๐๒๗ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เรื่อง ปรับหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายในการจัดงานและค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ
๓. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค ㆍ๔๐๙.๖/ว ๔๒ ลงวันที่ ๒ว กรกฎาคม ๒๕๕๐ เรื่อง หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด เงินชดเชยและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ

การประชุมของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

อำนาจหน้าที่ คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาประจำเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา 12

องค์ประชุม
1) ต้องมีอนุกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนอนุกรรมการทั้งหมด
๒) ถ้าประธานอนุกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิคนใดคนหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุมแทน
๓) กรณีที่อนุกรรมการผู้ถูกคัดค้านต้องออกจากที่ประชุม ให้ถือว่า อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ.ตั้งในส่วนราชการ ประกอบด้วยอนุกรรมการทุกคนที่ไม่ถูกคัดค้าน

การประชุมลับของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

๑) “ชั้นความลับ”
(๑) ลับที่สุด
(๒) ลับมาก
(๓) ลับ

๒) หลักการประชุมลับ
การประชุมลับเป็นการร่วมกันปรึกษาหารือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นความลับของทางราชการซึ่งอาจเป็นการหาข้อยุติ ข้อพิจารณาความเห็น การอภิปราย บรรยายสรุป

๓) วิธีการประชุมลับ
(๑) ต้องจัดทำระเบียบวาระการประชุม แยกออกจากระเบียบวาระการประชุมจากเรื่องปกติ
(๒) กำหนดพื้นที่ที่มีการรักษาความปลอดภัย
(๓) ประสานงานการรักษาความปลอดภัย
(๔) กำหนดการเข้าถึงของบุคคล
(๕) ต้องจดปันทึกการประชุมลับแยกออกจากระเบียบวาระการประชุม
(๖) ความลับของทางราชการที่ปรากฎในการประชุมลับต้องไม่รั่วไหลออกไปสู่บุคคลที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง

การลงมติในการประชุมของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

1. การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก อนุกรรมการ คนหนึ่งให้มีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด

2. เรื่องใด ถ้าไม่มีผู้คัดค้านให้ประธานถามที่ประชุมว่า”มีผู้เห็นเป็นอย่างอื่นหรือไม่ ถ้าไม่มีผู้เห็นเป็นอย่างอื่น ให้ถือว่าที่ประชุมลงมติเห็นชอบ” ในเรื่องนั้น

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ : สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ (obec.go.th)

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่