ดาวน์โหลดไฟล์ คู่มือการเปลี่ยนผ่าน จาก ว.17 ว.21 สู่ ว.9(PA) เพื่อคงและเลื่อนวิทยฐานะฯ โดย ดร.รัชศักดิ์ แก้วมาลา
ดาวน์โหลดไฟล์ คู่มือการเปลี่ยนผ่าน จาก ว.17 ว.21 สู่ ว.9(PA) เพื่อคงและเลื่อนวิทยฐานะฯ โดย ดร.รัชศักดิ์ แก้วมาลา

ดาวน์โหลดไฟล์ คู่มือการเปลี่ยนผ่าน จาก ว.17 ว.21 สู่ ว.9(PA) เพื่อคงและเลื่อนวิทยฐานะฯ โดย ดร.รัชศักดิ์ แก้วมาลา

บทความนี้ ครูอาชีพดอทคอม ขอนำเสนอ  ไฟล์คู่มือการเปลี่ยนผ่าน วิทยฐานะครจาก ว.17, ว.21 สู่ ว.9/2564 เพื่อคงวิทยฐานะและยกระดับวิทยฐานะ โดย ดร.รัชศักดิ์ แก้วมาลา ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร หน่วยพัฒนา (นิติบุคคล) หจก.เพื่อครู ในกำกับสถาบันคุรุพัฒนา (www.phuakru.com/ เฟชกลุ่มเปิด “พาคิด พาทาตาม วPA”)

ดาวน์โหลดไฟล์ คู่มือการเปลี่ยนผ่าน จาก ว.17 ว.21 สู่ ว.9(PA) เพื่อคงและเลื่อนวิทยฐานะฯ โดย ดร.รัชศักดิ์ แก้วมาลา
ดาวน์โหลดไฟล์ คู่มือการ เปลี่ยนผ่าน จาก ว.17 ว.21 สู่ ว.9(PA) เพื่อคงและเลื่อนวิทยฐานะฯ โดย ดร.รัชศักดิ์ แก้วมาลา

หลักการและเหตุผล

เพื่อให้การประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีการบูรณาการเชื่อมโยงกัน อย่างเป็นระบบ  โดยมุ่ง เน้นให้ข้าราชการครู มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนท่ีมี ประสิทธิภาพ สามารถปรับประยุกต์ แก้ไขปัญหา ริเริ่ม พัฒนา คิดค้น ปรับเปลี่ยน และสร้างการเปลี่ยนแปลง การจัดการเรียนรู้ ที่ส่งผลต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อยกระดับและขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาได้ อย่างเป็นรูปธรรมสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมายและยุทธศาสตร์ที่สำคัญของประเทศ

นิยาม

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนหมายถงึความรู้ทักษะเจตคติความคิดพฤติกรรมหรือคุณลกัษณะ ตามจุดประสงค์ของหลักสูตรที่เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีหรือมีพัฒนาการมากข้ึนเมื่อผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์การเรียนรู้ จากการลงมือปฏิบัติตามกระบวนการ หรือกิจกรรมท่ีครูผสู้ อนออกแบบและ ดาเนินการ ซงึ่ สามารถพิจารณาได้จาก “ผลงาน” (Product) หรือ “ผลการปฏิบัติ” (Performance) ของ ผู้เรียนท่ีปรากฎภายหลังการเรียนรู้

ข้อตกลงในการพัฒนางาน

ข้อตกลงในการพัฒนางาน(PerformanceAgreement:PA)หมายความว่าข้อตกลงท่ีข้าราชการ ครูได้เสนอต่อผู้อานวยการสถานศึกษา เพื่อแสดงเจตจานงว่า ภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การ เรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจาวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ สมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร ให้สูงขึ้น โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของตำแหน่งและวิทฐานะที่ดำรงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทของสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและ กระทรวงศึกษาธิการโดยผู้อานวยสถานศึกษาได้เห็นชอบใหเ้ป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน

ระบบการประเมินวิทยฐานะดิจิทัล

ระบบการประเมินวิทยฐานะดิจิทัล (DigitalPerformanceAppraisal)เรียกโดยย่อว่าระบบ DPA หมายความว่า ระบบการประเมินตาแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา แบบ ออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีในการส่งผ่าน จัดการ และประมวลผลข้อมูล การประเมินผลการปฏิบัติงานตาม ข้อตกลงในการพัฒนางาน รวมทั้ง หลักฐานประกอบการพิจารณา เพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ

ดาวน์โหลดคู่มือที่นี่

ขอขอบคุณข้อมูล คู่มือการเปลี่ยนผ่าน จาก ว.17 ว.21 สู่ ว.9(PA) เพื่อคงและเลื่อนวิทยฐานะฯ จาก ดร.รัชศักดิ์ แก้วมาลา ประธานหน่วยพัฒนา หจก.เพื่อครู

บทความที่เกี่ยวข้อง :

ว9/2564 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ สายงานการสอน
คำถาม-คำตอบ เกี่ยวกับ ว9/2564 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินวิทยฐานะ ตำแหน่งครู (เกณฑ์ PA) ช่วงเปลี่ยนผ่าน

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่