แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564

แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564

การดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน ปีการศึกษา 2564

1. กรณีเปิดภาคเรียน  นักเรียนมาเรียนที่โรงเรียนปกติ  (เปิดภาคเรียนวันแรก 1 มิถุนายน 2564)
โรงเรียนจัดอาหารกลางวันให้นักเรียนตามปกติ

2. กรณีจัดการเรียนการสอน Online การสลับวันมาเรียน หรือรูปแบบอื่นๆ
–  ให้จ่ายอาหารกลางวันให้นักเรียน (20 บาท / คน / วัน) ปีงบประมาณ 2564 โดยให้เบิกจ่ายเดือนละ  1 ครั้ง และนับจำนวนวันตามจำนวนวันที่เป็นวันเปิดเรียน แต่นักเรียนไม่สามารถมาเรียนได้  ตามมติ ครม. วันที่ 19 พฤษภาคม 2563
–  ให้ปฏิบัติตามแนวทางการเบิกจ่ายตามที่ สพฐ. กำหนด  คือ
– ตั้งกรรมการ การเบิกจ่าย อย่างน้อย 2 คน  ( ครูประจำชั้นและครูการเงิน )
– ให้มีการลงชื่อรับเงิน ( นักเรียน / ผู้ปกครอง )
– ตรวจสอบความซ้ำซ้อนของนักเรียน
– จัดเก็บหลักฐาน การจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบของหน่วยงาน

หมายเหตุ : มีหนังสือแจ้ง สพป. ทุกเขต ตามหนังสือ สพฐ. ด่วนที่สุดที่ ศธ 04188/ว426 ลว. 29 มิ.ย. 2563
และหนังสือ สพฐ. ด่วนที่สุดที่ ศธ 04188/ว2 ลว. 5 ม.ค. 2564
1.  หนังสือ สพฐ. ด่วนที่สุดที่ ศธ 04188/ว426 ลว. 29 มิ.ย. 2563 แนวปฏิบัติการเบิกจ่ายเงินค่าอาหารกลางวัน ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
2.  หนังสือ สพฐ. ด่วนที่สุดที่ ศธ 04188/ว2 ลว. 5 ม.ค. 2564  ซักซ้อมการดำเนินงาน โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เพื่อรองรับสถานการณ์โรคโควิด-19 ระลอกใหม่

แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564 6
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564 7

การดําเนินงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน  ปีการศึกษา 2564

มติคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เมื่อวันที่ 8 ม.ค2564 ให้ผู้ประกอบการที่ได้รับสิทธิการจําหน่ายนมโรงเรียน ส่งนมได้ทั้ง 2 ประเภท ตามที่ได้ตกลงกับหน่วยจัดซื้อ และโรงเรียน คือ
1. กรณีเปิดภาคเรียนนักเรียนมาโรงเรียนปกติ (เปิดภาคเรียนวันแรก 1 มิ.ย. 2564) 
ดําเนินการโครงการอาหารเสริม  (นม) ตามปกติ
2. กรณีเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  จ่ายนม 

2.1  ชนิด UHT (นมกล่อง) หรือ
2.2  ชนิดพาสเจอไรส์ (นมถุง) กรณีที่คู่สัญญาได้ตกลงกับหน่วยจัดซื้อและโรงเรียน ตามเงื่อนไขที่กําหนด คือ
ทั้ง 2 ชนิด นมต้องมีอายุเหลือไม่น้อยกว่า4 เดือน นับจากวันที่จัดส่ง
การดําเนินการจัดส่ง ดังนี้
1. คุณภาพน้ำนม
2. การเก็บรักษาคุณภาพน้ำนม (อุณหภูมิไม่เกิน 40 องศา)
3. การควบคุมป้องกันโรคในการบริหารจัดการส่งนมโรงเรียนให้ยึดตามมาตรการณ์ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส2019 (COVD-19)ระลอกใหม่ ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด

หมายเหตุ
1. ช่วงการระบาดปีการศึกษา 2563 ทราบล่วงหน้าก่อนเปิดภากเรียนจึงสามารถประสานผู้ผลิตให้เปลี่ยนการผลิตจากนมถุง (นมพาสเจอร์ไรส์) เป็น นมกล่อง (UHT) (ตามมติครม. วันที่ 5 พ.ค. 63 ให้บริโภคนม UHT (นมกล่อง))
2. สพฐ. มีหนังสือแจ้ง สพป. ทุกเขต ตามหนังสือ สพฐ. ด่วนที่สุดที่ ศธ 04188/ว12 ลว. 12 ม.ค. 2564 การดำเนินงานโครงการอาหารเสริม(นม) โรงเรียน เพื่อรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564 8
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564 9
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564
แนวทางการดําเนินงานโครงการอาหารกลางวัน และโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564 10

ดาวน์โหลดไฟล์นำเสนอคลิกที่นี่

Download เอกสาร
1. หนังสือ ว234
2. ประกาศการดำเนินงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ปีการศึกษา 2564

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่